Log in or Sign up
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
Forums
>
Community Team and group
>
Team and Group
>
DNA Racing Club
>
เรื่องน่ารู้สำหรับคลับเรานะครับ
>
Reply to Thread
Name:
Verification:
Please enable JavaScript to continue.
Loading...
Message:
<p>[QUOTE="TK RACING, post: 120204, member: 1693"]<font size="5"><span style="color: RoyalBlue">เรื่องน่ารู้ของเกียร์อัตโนมัติ </span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">ก่อนอื่นก็มาทีความรู้จักกับเกียร์อัตโนมัติกันซะก่อน เพราะยังมีอีกหลายท่านที่เคยแต่เพียง เห็น ยังไม่เคยทำความคุ้นเคยหรือสัมผัสกันอย่างจริงจังเสียที แบบนั้นจัดว่ารู้จักว่าเป็นเกียร์อัตโนมัติเฉย ๆ แต่ยังไม่รู้จักอย่างลึกซึ้ง ก่อนที่จะขับก็ควรมาศึกษารายละเอียดกันก่อน หลายคนอาจจะคิดว่าไม่จำเป็นก็ในเมื่อเขาทำมาให้ขับง่ายสะดวกสบายแล้วทำไมต้องมีการศึกษาอะไรอีก ก็เป็นเพียงความเข้าใจที่ถูกต้องเพียงบางส่วนที่คิดว่าเพียงแต่ขยับตำแหน่งคันเกียร์มาที่ตัว D แล้วก็เหยีบคันเร่งเท่านั้นก็ขับรถไปไหน ๆ ได้แล้ว ผู้ที่ขับขี่เป็นแต่ในลักษณะนี้ล่ะครับที่จัดอยู่ในขั้นที่น่าเป็นห่วง เพราะจะมีอันตรายตามมาอีกหลายอย่าง เช่น การขับรถในสภาพทางที่เป็นภูเขาสูงหรือที่เคยมีข่าวรถวิ่งไปทับเจ้าของจนตายตอนเปิดประตูบ้านก็เข้าข่ายที่ "รู้..แต่ยังรู้ไม่หมด" นั่นเอง</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">หลักการทำงานแบบย่อ ๆ ของเกียร์อัตโนมัติ ก็คือเกียร์ที่ผลิตมาให้ขับรถได้ง่ายสะดวกสบายขึ้น คือ รถจะมีการเปลี่ยนเกียร์ของมันเองตอนเดินหน้าด้วยการขยับเข้าเกียร์เพียงครั้งเดียว และไม่ต้องเหยียบคลัทซ์เพราะไม่มีให้เหยียบ การขับขึ่จึงใช้เพียงเท้าขวาเพียงข้างเดียวใช้เหยียบคันเร่งกับเบรคเท่านั้น ส่วนเท้าซ้ายไม่ต้องใช้ที่เป็นเช่นนี้เพราะการออกแบบระบบการทำงานของเกียร์อัตโนมัติที่แตกต่างจากเกียร์ธรรมดา โดยชุดคลัทซ์ได้เปลี่ยนมาใช้ตัว ทอร์คคอนเวอร์เตอร์ ช่วยในการตัดต่อการส่งกำลังจากเครื่องยนต์ไปที่เกียร์แทน ซึ่งเท่ากับเป็นคลัทซ์อัตโนมัติที่เราไม่ต้องเหยียบเพราะมันจะทำการจับตัวของมันเองตามรอบเครื่องที่เพิ่มขึ้น โดยใช้ของเหลวเป็นตัวส่งกำลังด้วยความหนืด หลักการก็เหมือนกับมีพัดลม 2 อัน อันหนึ่งเปิดไว้เอามาเป่าให้อีกอันหนึ่งหมุนตามทำให้เกิดการส่งกำลังได้ทำให้สามารถเข้าเกียร์ได้โดยเครื่องไม่ดับขณะเครื่องเดินเบาและรถจอดนิ่งเหยียบเบรคไว้ ส่วนระบบเกียร์เมื่อเข้าเกียร์ให้รถขับเคลื่อนไปแล้ว การทำงานจะเป็นไปโดยอัตโนมัติคือ การเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์จะมีการตั้งโปรแกรมการทำงานให้เหมาะสมกับความเร็วรอบของเครื่องยนต์ เหมือนตอนที่เราเข้าเกียร์ด้วยความรู้สึกของเรา แต่ในเกียร์อัตโนมัติใช้กลไกต่าง ๆ มาทำงานแทน โดยแต่เดิมจะมีแต่ระบบกลไกโดยใช้แรงดันในระบบน้ำมันเกียร์ซึ่งมีปั๊มสร้างแรงดันเช่นเดียวกับระบบไฮดรอลิก ซึ่งแรงดันที่เพิ่มขึ้นตามความเร็วรอบเครื่องยนต์จะถูกนำมาใช้ในการเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ ภายในเกียร์อัตโนมัติจะใช้เกียร์แบบเพลนเนตทารี่เกียร์ ซึ่งเป็นชุดเกียร์ที่ออกแบบให้เฟืองของเพลาขับทดอยู่กับเฟืองของเพลาตามภายในเฟืองวงแหวน ทำให้สามารถเปลี่ยนอัตราทดเกียร์ได้ง่ายเพียงแต่ล็อกเฟืองชุดใดชุดหนึ่งด้วยการจับตัวของแผ่นคลัทซ์แบบเปียกซ้อนกันหลาย ๆ แฟ่นทำให้การเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ทำได้นุ่มนวลเมื่อทำงานร่วมกับทอร์คคอนเวอร์เตอร์ ยิ่งมาในยุคที่มีระบบอิเล็คทรอนิคส์เข้ามาช่วยในการทำงานทำให้เกียร์อัตโนมัติมีประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้นมากโดยเฉพาะจังหวะการเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ที่ทำได้นุ่มนวลจนแทบไม่รู้สึก และจังหวะการทำงานต่าง ๆ ที่ฉับไวยิ่งขึ้นมากโดยเฉพาะจังหวะการเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ที่ทำได้นุ่มนวลจนแทบไม่รู้สึก และจังหวะการทำงานต่าง ๆ ที่ฉับไวยิ่งขึ้นมีโปรแกรมการทำงานมากยิ่งขึ้นกว่าในระบบเก่า ซึ่งบางทีก็เรียกกันว่าเกียร์ไฟฟ้าเพราะจะมีกล่องควบคุมการทำงานมาต่างหากในรถบางรุ่น</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">เมื่อทราบหลักการทำงานแบบย่อ ๆ แล้วก็มาดูกันที่ตำแหน่งเกียร์ซึ่งจะมีบอกไว้ที่ตรงโคนของคันเกียร์ จะยกตัวอย่างเฉพาะในรถรุ่นปัจจุบันที่เกียร์อัตโนมัติจะมี 4 สปีดแล้ว นอกจากนี้ยังมีรถนั่งรุ่นใหม่ ๆ ที่ได้มีเพิ่มเป็น 5 เกียร์สปีดแล้ว อย่างเช่น BMW ที่ราคาหลายล้านบาท ตำแหน่งเกียร์ 4 สปีดที่พบทั่ว ๆ ไป จะมีเขียนแสดงไว้นั้นพอจะอธิบายได้ดังนี้</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">ตัว P เป็นตำแหน่งที่ใช้ในการจอดรถ ซึ่งย่อมาจากภาษาอังกฤษ Parking แปลว่าจอดรถ ซึ่งจังหวะนี้เพลากลางจะถูกล็อกทำให้รถเคลื่อนตัวไม่ได้ ทุกครั้งที่จอดรถในทางชันเพื่อป้องกันรถไหลควรใช้ร่วมกับเบรคมือ แต่หากไปจอดตามห้างสรรพสินค้าหรือลานจอดรถไม่ควรใช้เพราะหากไปขวางทางผู้อื่นแล้วไม่สามารถเข็นรถได้ บรรพบุรุษจะโดนกล่าวถึงในทางไม่ดี ประโยชน์อีกอย่างก็สามารถติดเครื่องได้ในตำแหน่งนี้เพราะจะเป็นเกียร์ว่าง แต่เพลากลางยังถูกล็อคไม่ให้รถไหล มีประโยชน์ตอนจอดในทางลาดชันทำให้ออกรถได้ง่ายขึ้นเมื่อผู้ขับเหยียบเบรคและเปลี่ยนเกียร์มาในตำแหน่งให้รถขับเคลื่อนต่อไป</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">ต่อมาก็เป็นตำแหน่ง R ซึ่งย่อมาจาก Reverse อันนี้เป็นเกียร์ถอยหลัง การขยับคันเกียร์จากตำแหน่งอื่นมาให้ตำแหน่ง R นี้ต้องกดปุ่มล็อคคันเกียร์นั้นจะอยู่ด้านข้างของหัวเกียร์ในรถทุกรุ่นเพื่อกันการลืมซึ่งจะทำให้ระบบเกียร์พังและกันการเข้าเกียร์ผิดในกรณีที่ไม่ได้เหลือบตามามองสำหรับการขับปกติและผู้ชำนาญแล้ว</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">ตำแหน่ง N เป็นเกียร์ว่าง ซึ่งภาษาอังกฤษเขียนว่า Natural ตำแหน่งนี้จะเหมือนกับเกียร์ว่างในรถเกียร์ธรรมดาที่สามารถเข็นรถได้เวลาจอดตามลานจอดรถและขวางคันอื่น ๆ อยู่ก็อย่าลืมใช้ตำแหน่งนี้เพื่อให้ยามหรือเจ้าของรถคันอื่นจะได้เข็นเลื่อนรถให้พ้นจากการกีดขวางได้เวลารถจอดติดไฟแดงก็ใช้ได้</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">ตำแหน่ง D หรือ Drive เป็นตำแหน่งที่ให้รถขับเคลื่อนไปข้างหน้า โดยเกียร์ทุกเกียร์จะทำงานเปลี่ยนตำแหน่งครบทั้งหมด ตามความเร็วที่ตั้งโปรแกรมไว้ในการขับขี่รถทั่ว ๆ ไปบนถนนธรรมดาจะใช้ตำแหน่ง D นี้แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้นซึ่งสะดวกสบายมาก</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">ตำแหน่ง 2 หมายถึงเกียร์จะทำงานเพียง 2 เกียร์ คือ เกียร์ 1 และ 2 เท่านั้น ซึ่งเป็นการถูกล็อคเอาไว้ในตำแหน่งนี้เพื่อให้ใช้ตอนที่ตอ้งการกำลังในการขับเคลื่อนสูง ๆ เช่น การขับรถในทางที่เป็นภูเขาสูงชันมาก ๆ ซึ่งการล็อคเกียร์ไวให้ทำงานแค่ 2 เกียร์นี้จะช่วยในตอนลงจากที่สูงซึ่งจะใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรคผ่านอัตราทดเกียร์ที่สูงนี้ได้เพื่อความปลอดภัยโดยเป็นการช่วยผ่อนแรงการทำงานของระบบเบรคกันเบรคร้อนซึ่งทำให้เกิดอาการเบรคหายจากการเกิดฟองอากาศในน้ำมันเบรคที่เดือนเป็นไอ</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">ตำแหน่ง 1 อันนี้ก็เป็นการทำงานในเกียร์ 1 เพียงเกียร์เดียว ซึ่งเป็นการขับขึ้นทางสูงชันที่ต้องการแรงฉุดลากมากกว่าในเกียร์ตำแหน่ง 2 สังเกตง่าย ๆ ว่าจะใช้เมื่อไรดูได้จากเมื่อใช้ตำแหน่ง 2 พอรถวิ่งไปถึงความเร็วรอบเครื่องที่เกียร์เปลี่ยนเป็นเกียร์ 2 รถจะไม่มีกำลังทำให้เกียร์เปลี่ยนมาที่ 1 อีกจะทำให้เสียจังหวะเราก็จัดการเปลี่ยนมาล็อกไว้ที่เกียร์ 1 ซะเลยจะไปได้ดีกว่า รวมทั้งตอนลงทางชันที่ชันมากแบบค่อย ๆ ย่องลงมาเกียร์ 1 จะช่วยในการหน่วงด้วยเครื่องยนต์ได้ดี ในตำแหน่ง 1 นี้ จะช่วยในการหน่วงด้วยเครื่องยนต์ได้ดี ในตำแหน่ง 1 นี้ รถบางรุ่นจะใช้ตัวอักษร L แทนซึ่งหมายถึงตำแหน่งเกียร์ที่ต่ำสุด</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">นอกจากตำแหน่งเกียร์ต่าง ๆ ให้เลือกใช้ก็จะมีปุ่มเลือกโปรแกรมต่าง ๆ เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกสบายและประสิทธิภาพของระบบเกียร์อัตโนมัตินี้อีก อันแรกที่มีในรถรุ่นต่าง ๆ ก็คือ ปุ่ม OD (Over Drive) จะมีให้เลือก 2 ตำแหน่งคือ On กับ Off เมื่อกดปุ่ม OD อยู่ในตำแหน่ง On และคันเกียร์อยู่ในตำแหน่ง D โปรแกรมนี้เกียร์จะทำงานครบทั้ง 4 เกียร์ เปรียบเสมือนเป็นการเลือกใช้เกียร์จะทำงานครบทั้ง 4 เกียร์เปรียบเสมือนเป็นการเลือกใช้เกียร์ 4 กับไม่ใช้นั่นเองซึ่งเหตุผลก็คือ เมื่อต้องการขับรถในทางสูงชันแต่ไม่มากเหมือนในการใช้ตำแหน่ง 2 เราก็ใช้เพียงเกียร์ 3 โดยไม่ต้องเลื่อนคันเกียร์เพียงแต่ใช้ปุ่ม OD ซึ่งช่วยให้สะดวกขึ้นมากรวมทั้งในกรณีต้องการเชนจ์เกียร์เพื่อใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรค (เอนจิ้นเบรค) เช่น ขณะถนนลื่นหรือลงจากที่สูงก็ใช้ได้</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">นอกจำโปรแกรมทั่ว ๆ ไปในรถบางรุ่น โดยเฉพาะพวกรถสปอร์ตหรือนั่งจะมีปุ่มที่เขียนว่า Sport-Comfort ปุ่มต่อมาอันนี้จะไม่อยู่ที่หัวเกียร์ ส่วนมากจะอยู่ที่แผงหน้าปัทม์หรือบริเวณคอนโซลข้าง ๆ คันเกียร์ในรถบางรุ่นจะใช้ Sport Economy โปรแกรมนี้ออกแบบมาให้จังหวะการเปลี่ยนเกียร์ช้าลงในโปรแกรม Sport หมายถึงจะลากเกียร์ได้ยาวขึ้นและเกียร์จะเปลี่ยนที่รอบเครื่องยนต์สูงขึ้นกว่าเดิมทำให้ได้อัตราเร่งที่ดีขึ้น ต่างจากในโปรแกรม Comfort หรือ Economy ซึ่งเน้นที่ความนุ่มนวลและประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง เกียร์จะเปลี่ยนตั้งแต่ความเร็วรอบเครื่องยนต์รอบที่ต่ำกว่าเหมือนตอนที่เราขับรถเกียร์ธรรมดาตอนที่ไม่รีบร้อนนั่นเอง ทำให้ผู้โดยารนั่งสบายไม่เกิดการกระชากที่รุนแรงเหมือนนั่งรถแข่ง</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">เราได้ทราบเรื่องการทำงานและโปรแกรมการสิ่งให้เกียร์ทำงานได้ผู้ขับขี่ในแบบต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับการขับขี่ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การขับขี่ในสภาพทางที่เป็นภูเขาสูงหรือต้องการอัตราเร่งที่ดีกว่าปกติก็สามารถลากเกียร์ให้ยาวขึ้นในโปรแกรม Sport การใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรคขณะลงจากทางสูงชัน ผ่านตำแหน่งเกียร์ที่ถูกต้อง ซึ่งท่านใดที่ยังไม่เข้าใจก็ลองย้อนกลับไปอ่านอีกครั้งหรือสองครั้งเพราะเป็นพื้นฐานความรุ้ที่น่าสนใจสำหรับผู้ไม่คุ้นเคย</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">เมื่อคู่ได้พูดถึงโปรแกรมการทำให้จังหวะการเปลี่ยนเกียร์ช้างลงเพื่อให้ลากเกียร์ได้ยาวขึ้น เพื่อให้มีการเปลี่ยนเกียร์ในความเร็วรอบเครื่องยนต์ที่สูงขึ้นกว่าโปรแกรมธรรมดาซึ่งจะทำให้อัตราเร่งของรถดีขึ้น ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวจะเลือกใช้ได้โดยการกดปุ่ม ซึ่งมีเขียนบอกไว้ในแบบต่าง ๆ เช่น Sport-Comfort และ Sport-Economay รวมทั้งอีกตัวหนึ่งคือคำว่า Power ซึ่งเมื่อครู่ไม่ได้บอกไว้ เผื่อไปเจอจะสงสัยว่าเป็นปุ่มอะไรเอาไว้กดทำไม เพราะในรถบางรุ่นจะมีเพียงปุ่มกดและคำว่า Power นี้เพียงอย่างเดียว ในลักษณะ On-Off หรือเปิด-ปิด คือ ใช้โปรแกรม Power กับไม่ใช้เท่านั้น</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">"เกียร์ธรรมดาในเกียร์อัตโนมัติ"</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">โปรแกรมต่อมาที่เห็นในรถบางรุ่นส่วนมากจะเป็นรถสปอร์ตหรือสปอร์ตซีดาน หรือรถที่มีสมรรถนะค่อนข้างสูง จะมีปุ่มกดที่เขียนว่า Hold หรือ Auto Manual เพื่อการขับขี่ในลักษณะของเกียร์ธรรมดาเพื่อความคล่องตัวยิ่งขึ้น จึงได้มีโปรแกรมนี้เพิ่มขึ้นมา โดยตำแหน่ง Hold หรือ Manual จะมีความหมายเดียวกันคือเป็นการล็อคเกียร์ในตำแหน่ง ต่าง ๆ ไว้ให้เปลี่ยนตามจังหวะการโยกคันเกียร์ของผู้ขับแต่เพียงอย่างเดียว ไม่ว่ารถจะวิ่งในความเร็วเท่าไรตำแหน่งเกียร์จะเป็นไปตามตำแหน่งของคันเกียร์ตลอดเวลาทำให้ผู้ขับสามารถเลือกเปลี่ยนเกียร์ได้ตามต้องการคือ ต้องการลากรอบเครื่องยนต์ให้สูง ๆ แล้วค่อยเปลี่ยนเกียร์เพื่ออัตราเร่งที่ดีหรือต่อเนื่องยิ่งกว่สในโปรแกรม Sport หรือ Power หรือต้องการเชนจ์เกียร์ลงมาในเกียร์ต่ำเพื่อการใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรคได้ตามต้องการ เช่นเดียวกับการขับรถเกียร์ธรรมดาซึ่งดีกว่าตรงไม่ต้องเหยียบคลัทช์ทำให้มีความคล่องตัวและสนุกกว่า และจะทำได้เฉพาะรถที่มีโปรแกรมนี้เท่านั้นหากเป็นรุ่นที่ไม่มีปุ่ม Hold หรือ Manual ให้เลือกการขับขี่จะทำได้เพียงการเข้าเกียร์ในตำแหน่งต่าง ๆ ด้วยผู้ขับเช่นกัน แต่จังหวะการเปลี่ยนเกียร์อาจจะไม่เปลี่ยนตามการโยกคันเกียร์ในทันทีทันใด เช่น เมื่อต้องการเชนจ์เกียร์เพื่อให้เครื่องยนต์ช่วยเบรคในขณะที่เครื่องยนต์มีความเร็วรอบสูง ๆ เกียร์จะไม่ยอมเปลี่ยนตามเพราะในโปรแกรมของภายในตัวเกียร์ได้ตั้งให้มีการเปลี่ยนเกียร์ตามสภาพความเร็วรอบเครื่องยนต์และแรงบิดจากเพลากลาง เมื่อรอบเครื่องยนต์ยังสูงมันจึงไม่ยอมเปลี่ยนเพราะรับคำสั่งมาว่าในรอบขนาดนี้มันจะต้องเปลี่ยนเกียร์ให้สูงขึ้น เมื่อเราโยกคันเกียร์มาในเกียร์ต่ำก็เลยยังไม่เปลี่ยนตำแหน่งตามลงมาจนกว่ารอบเครื่องยนต์จะลดลง ซึ่งต้องเสียเวลาไปชั่วระยะอึดใจตั้งแต่ถอนคันเร่ง</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">การขับรถลงภูเขาควรระวังไว้เช่นกันในกรณีนี้อย่าปล่อยให้รถไหลในความเร็วสูง ๆ แล้วมาเชนจ์เกียร์เพราะถ้าความเร็วรอบเครื่องสูงเกินกำหนดเกียร์จะไม่เปลี่ยนทันทีทันใดหากไม่มีโปรแกรม Hold กับ Manual อย่างใดอย่างหนึ่งผู้ขับจะต้องใช้การแตะเบรคช่วยให้รอบเครื่องลดลง การขับที่ถูกวิธี คือ เมื่อขับอยู่ในตำแหน่งเกียร์ 3 และเมื่อเห็นว่าความชันของเส้นทางที่ลงมีมากจนแรงหน่วงไม่พอในเกียร์นี้ และรถเริ่มเพิ่มความเร็วขึ้นควรรีบเชนจ์มาเกียร์ 2 แต่เนิ่น ๆ ตำแหน่งเกียร์จะเปลี่ยนมาทันที</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">การออกรถในโปรแกรมนี้จะทำได้เช่นเดียวกับเกียร์ธรรมดาทุกประการคือ เริ่มออกรถในตำแหน่งเกียร์ 1 หรือ L และสามารถเปลี่ยนเกียร์ 2 ได้ในความเร็วรอบเครื่องต่าง ๆ กันตามต้องการ ไม่ว่าจะเอาแบบลากรอบสูงหรืออยากเปลี่ยนแบบนิ่ม ๆ ที่รอบปานกลางไปตามลำดับจนถึงตำแหน่ง D ซึ่งในช่วงเกียร์ 2 ได้ในความเร็วรอบเครื่องต่าง ๆ กันตามต้องการ ไม่ว่าจะเอาแบบลากรอบสูงหรืออยากเปลี่ยนแบบนิ่ม ๆ ที่รอบปานกลางไปตามลำดับจนถึงตำแหน่ง D ซึ่งในช่วงเกียร์ 3 กับ 4 ก็ใช้ปุ่ม OD ร่วมด้วยเท่านั้น รถก็จะมีการเปลี่ยนเกียร์ครบทั้ง 4 เกียร์ การเชนจ์เกียร์ก็ทำได้เช่นเดียวกันโดยย้อนกลับจากตอนออกรถ</span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue"><br /></span></font></p><p><font size="5"><span style="color: RoyalBlue">โปรแกรมนี้จะมีในรถเกียร์ออโตทุกรุ่นซึ่งไม่มีปุ่มให้กดโดยจะอยู่ที่คันเร่งนั่นเอง คือ การที่เมื่อเราต้องการเชนจ์เกียร์มาในเกียร์ต่ำเพื่อการเร่งแซงก็เพียงแต่กดดันคันเร่งลงไปให้มิด เกียร์จะเปลี่ยนลงไปเป็นเกียร์ต่ำกว่าเกียร์ที่ใช้อยู่ และรอบเครื่องยนต์จะเพิ่มขึ้น เพราะเราเหยียบคันเร่งในตำแหน่งเร่งสุดรถจะมีการพุ่งหรือสปริ้นท์ตัวไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในการเร่งแซง เมื่อแซงเสร็จเรียบร้อยแล้วความเร็วความเร็วรถเพิ่มขึ้นก็จะมีการเปลี่ยนเกียร์กลับมาในเกียร์สูงตามเดิมโดยเราไม่ต้องทำอะไรกับคันเกียร์ นอกจากการเร่งแซงแล้วก็ยังใช้ในโอกาสอื่น ๆ เช่น การขึ้นที่สูงชัน</span></font>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="TK RACING, post: 120204, member: 1693"][SIZE="5"][COLOR="RoyalBlue"]เรื่องน่ารู้ของเกียร์อัตโนมัติ ก่อนอื่นก็มาทีความรู้จักกับเกียร์อัตโนมัติกันซะก่อน เพราะยังมีอีกหลายท่านที่เคยแต่เพียง เห็น ยังไม่เคยทำความคุ้นเคยหรือสัมผัสกันอย่างจริงจังเสียที แบบนั้นจัดว่ารู้จักว่าเป็นเกียร์อัตโนมัติเฉย ๆ แต่ยังไม่รู้จักอย่างลึกซึ้ง ก่อนที่จะขับก็ควรมาศึกษารายละเอียดกันก่อน หลายคนอาจจะคิดว่าไม่จำเป็นก็ในเมื่อเขาทำมาให้ขับง่ายสะดวกสบายแล้วทำไมต้องมีการศึกษาอะไรอีก ก็เป็นเพียงความเข้าใจที่ถูกต้องเพียงบางส่วนที่คิดว่าเพียงแต่ขยับตำแหน่งคันเกียร์มาที่ตัว D แล้วก็เหยีบคันเร่งเท่านั้นก็ขับรถไปไหน ๆ ได้แล้ว ผู้ที่ขับขี่เป็นแต่ในลักษณะนี้ล่ะครับที่จัดอยู่ในขั้นที่น่าเป็นห่วง เพราะจะมีอันตรายตามมาอีกหลายอย่าง เช่น การขับรถในสภาพทางที่เป็นภูเขาสูงหรือที่เคยมีข่าวรถวิ่งไปทับเจ้าของจนตายตอนเปิดประตูบ้านก็เข้าข่ายที่ "รู้..แต่ยังรู้ไม่หมด" นั่นเอง หลักการทำงานแบบย่อ ๆ ของเกียร์อัตโนมัติ ก็คือเกียร์ที่ผลิตมาให้ขับรถได้ง่ายสะดวกสบายขึ้น คือ รถจะมีการเปลี่ยนเกียร์ของมันเองตอนเดินหน้าด้วยการขยับเข้าเกียร์เพียงครั้งเดียว และไม่ต้องเหยียบคลัทซ์เพราะไม่มีให้เหยียบ การขับขึ่จึงใช้เพียงเท้าขวาเพียงข้างเดียวใช้เหยียบคันเร่งกับเบรคเท่านั้น ส่วนเท้าซ้ายไม่ต้องใช้ที่เป็นเช่นนี้เพราะการออกแบบระบบการทำงานของเกียร์อัตโนมัติที่แตกต่างจากเกียร์ธรรมดา โดยชุดคลัทซ์ได้เปลี่ยนมาใช้ตัว ทอร์คคอนเวอร์เตอร์ ช่วยในการตัดต่อการส่งกำลังจากเครื่องยนต์ไปที่เกียร์แทน ซึ่งเท่ากับเป็นคลัทซ์อัตโนมัติที่เราไม่ต้องเหยียบเพราะมันจะทำการจับตัวของมันเองตามรอบเครื่องที่เพิ่มขึ้น โดยใช้ของเหลวเป็นตัวส่งกำลังด้วยความหนืด หลักการก็เหมือนกับมีพัดลม 2 อัน อันหนึ่งเปิดไว้เอามาเป่าให้อีกอันหนึ่งหมุนตามทำให้เกิดการส่งกำลังได้ทำให้สามารถเข้าเกียร์ได้โดยเครื่องไม่ดับขณะเครื่องเดินเบาและรถจอดนิ่งเหยียบเบรคไว้ ส่วนระบบเกียร์เมื่อเข้าเกียร์ให้รถขับเคลื่อนไปแล้ว การทำงานจะเป็นไปโดยอัตโนมัติคือ การเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์จะมีการตั้งโปรแกรมการทำงานให้เหมาะสมกับความเร็วรอบของเครื่องยนต์ เหมือนตอนที่เราเข้าเกียร์ด้วยความรู้สึกของเรา แต่ในเกียร์อัตโนมัติใช้กลไกต่าง ๆ มาทำงานแทน โดยแต่เดิมจะมีแต่ระบบกลไกโดยใช้แรงดันในระบบน้ำมันเกียร์ซึ่งมีปั๊มสร้างแรงดันเช่นเดียวกับระบบไฮดรอลิก ซึ่งแรงดันที่เพิ่มขึ้นตามความเร็วรอบเครื่องยนต์จะถูกนำมาใช้ในการเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ ภายในเกียร์อัตโนมัติจะใช้เกียร์แบบเพลนเนตทารี่เกียร์ ซึ่งเป็นชุดเกียร์ที่ออกแบบให้เฟืองของเพลาขับทดอยู่กับเฟืองของเพลาตามภายในเฟืองวงแหวน ทำให้สามารถเปลี่ยนอัตราทดเกียร์ได้ง่ายเพียงแต่ล็อกเฟืองชุดใดชุดหนึ่งด้วยการจับตัวของแผ่นคลัทซ์แบบเปียกซ้อนกันหลาย ๆ แฟ่นทำให้การเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ทำได้นุ่มนวลเมื่อทำงานร่วมกับทอร์คคอนเวอร์เตอร์ ยิ่งมาในยุคที่มีระบบอิเล็คทรอนิคส์เข้ามาช่วยในการทำงานทำให้เกียร์อัตโนมัติมีประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้นมากโดยเฉพาะจังหวะการเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ที่ทำได้นุ่มนวลจนแทบไม่รู้สึก และจังหวะการทำงานต่าง ๆ ที่ฉับไวยิ่งขึ้นมากโดยเฉพาะจังหวะการเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ที่ทำได้นุ่มนวลจนแทบไม่รู้สึก และจังหวะการทำงานต่าง ๆ ที่ฉับไวยิ่งขึ้นมีโปรแกรมการทำงานมากยิ่งขึ้นกว่าในระบบเก่า ซึ่งบางทีก็เรียกกันว่าเกียร์ไฟฟ้าเพราะจะมีกล่องควบคุมการทำงานมาต่างหากในรถบางรุ่น เมื่อทราบหลักการทำงานแบบย่อ ๆ แล้วก็มาดูกันที่ตำแหน่งเกียร์ซึ่งจะมีบอกไว้ที่ตรงโคนของคันเกียร์ จะยกตัวอย่างเฉพาะในรถรุ่นปัจจุบันที่เกียร์อัตโนมัติจะมี 4 สปีดแล้ว นอกจากนี้ยังมีรถนั่งรุ่นใหม่ ๆ ที่ได้มีเพิ่มเป็น 5 เกียร์สปีดแล้ว อย่างเช่น BMW ที่ราคาหลายล้านบาท ตำแหน่งเกียร์ 4 สปีดที่พบทั่ว ๆ ไป จะมีเขียนแสดงไว้นั้นพอจะอธิบายได้ดังนี้ ตัว P เป็นตำแหน่งที่ใช้ในการจอดรถ ซึ่งย่อมาจากภาษาอังกฤษ Parking แปลว่าจอดรถ ซึ่งจังหวะนี้เพลากลางจะถูกล็อกทำให้รถเคลื่อนตัวไม่ได้ ทุกครั้งที่จอดรถในทางชันเพื่อป้องกันรถไหลควรใช้ร่วมกับเบรคมือ แต่หากไปจอดตามห้างสรรพสินค้าหรือลานจอดรถไม่ควรใช้เพราะหากไปขวางทางผู้อื่นแล้วไม่สามารถเข็นรถได้ บรรพบุรุษจะโดนกล่าวถึงในทางไม่ดี ประโยชน์อีกอย่างก็สามารถติดเครื่องได้ในตำแหน่งนี้เพราะจะเป็นเกียร์ว่าง แต่เพลากลางยังถูกล็อคไม่ให้รถไหล มีประโยชน์ตอนจอดในทางลาดชันทำให้ออกรถได้ง่ายขึ้นเมื่อผู้ขับเหยียบเบรคและเปลี่ยนเกียร์มาในตำแหน่งให้รถขับเคลื่อนต่อไป ต่อมาก็เป็นตำแหน่ง R ซึ่งย่อมาจาก Reverse อันนี้เป็นเกียร์ถอยหลัง การขยับคันเกียร์จากตำแหน่งอื่นมาให้ตำแหน่ง R นี้ต้องกดปุ่มล็อคคันเกียร์นั้นจะอยู่ด้านข้างของหัวเกียร์ในรถทุกรุ่นเพื่อกันการลืมซึ่งจะทำให้ระบบเกียร์พังและกันการเข้าเกียร์ผิดในกรณีที่ไม่ได้เหลือบตามามองสำหรับการขับปกติและผู้ชำนาญแล้ว ตำแหน่ง N เป็นเกียร์ว่าง ซึ่งภาษาอังกฤษเขียนว่า Natural ตำแหน่งนี้จะเหมือนกับเกียร์ว่างในรถเกียร์ธรรมดาที่สามารถเข็นรถได้เวลาจอดตามลานจอดรถและขวางคันอื่น ๆ อยู่ก็อย่าลืมใช้ตำแหน่งนี้เพื่อให้ยามหรือเจ้าของรถคันอื่นจะได้เข็นเลื่อนรถให้พ้นจากการกีดขวางได้เวลารถจอดติดไฟแดงก็ใช้ได้ ตำแหน่ง D หรือ Drive เป็นตำแหน่งที่ให้รถขับเคลื่อนไปข้างหน้า โดยเกียร์ทุกเกียร์จะทำงานเปลี่ยนตำแหน่งครบทั้งหมด ตามความเร็วที่ตั้งโปรแกรมไว้ในการขับขี่รถทั่ว ๆ ไปบนถนนธรรมดาจะใช้ตำแหน่ง D นี้แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้นซึ่งสะดวกสบายมาก ตำแหน่ง 2 หมายถึงเกียร์จะทำงานเพียง 2 เกียร์ คือ เกียร์ 1 และ 2 เท่านั้น ซึ่งเป็นการถูกล็อคเอาไว้ในตำแหน่งนี้เพื่อให้ใช้ตอนที่ตอ้งการกำลังในการขับเคลื่อนสูง ๆ เช่น การขับรถในทางที่เป็นภูเขาสูงชันมาก ๆ ซึ่งการล็อคเกียร์ไวให้ทำงานแค่ 2 เกียร์นี้จะช่วยในตอนลงจากที่สูงซึ่งจะใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรคผ่านอัตราทดเกียร์ที่สูงนี้ได้เพื่อความปลอดภัยโดยเป็นการช่วยผ่อนแรงการทำงานของระบบเบรคกันเบรคร้อนซึ่งทำให้เกิดอาการเบรคหายจากการเกิดฟองอากาศในน้ำมันเบรคที่เดือนเป็นไอ ตำแหน่ง 1 อันนี้ก็เป็นการทำงานในเกียร์ 1 เพียงเกียร์เดียว ซึ่งเป็นการขับขึ้นทางสูงชันที่ต้องการแรงฉุดลากมากกว่าในเกียร์ตำแหน่ง 2 สังเกตง่าย ๆ ว่าจะใช้เมื่อไรดูได้จากเมื่อใช้ตำแหน่ง 2 พอรถวิ่งไปถึงความเร็วรอบเครื่องที่เกียร์เปลี่ยนเป็นเกียร์ 2 รถจะไม่มีกำลังทำให้เกียร์เปลี่ยนมาที่ 1 อีกจะทำให้เสียจังหวะเราก็จัดการเปลี่ยนมาล็อกไว้ที่เกียร์ 1 ซะเลยจะไปได้ดีกว่า รวมทั้งตอนลงทางชันที่ชันมากแบบค่อย ๆ ย่องลงมาเกียร์ 1 จะช่วยในการหน่วงด้วยเครื่องยนต์ได้ดี ในตำแหน่ง 1 นี้ จะช่วยในการหน่วงด้วยเครื่องยนต์ได้ดี ในตำแหน่ง 1 นี้ รถบางรุ่นจะใช้ตัวอักษร L แทนซึ่งหมายถึงตำแหน่งเกียร์ที่ต่ำสุด นอกจากตำแหน่งเกียร์ต่าง ๆ ให้เลือกใช้ก็จะมีปุ่มเลือกโปรแกรมต่าง ๆ เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกสบายและประสิทธิภาพของระบบเกียร์อัตโนมัตินี้อีก อันแรกที่มีในรถรุ่นต่าง ๆ ก็คือ ปุ่ม OD (Over Drive) จะมีให้เลือก 2 ตำแหน่งคือ On กับ Off เมื่อกดปุ่ม OD อยู่ในตำแหน่ง On และคันเกียร์อยู่ในตำแหน่ง D โปรแกรมนี้เกียร์จะทำงานครบทั้ง 4 เกียร์ เปรียบเสมือนเป็นการเลือกใช้เกียร์จะทำงานครบทั้ง 4 เกียร์เปรียบเสมือนเป็นการเลือกใช้เกียร์ 4 กับไม่ใช้นั่นเองซึ่งเหตุผลก็คือ เมื่อต้องการขับรถในทางสูงชันแต่ไม่มากเหมือนในการใช้ตำแหน่ง 2 เราก็ใช้เพียงเกียร์ 3 โดยไม่ต้องเลื่อนคันเกียร์เพียงแต่ใช้ปุ่ม OD ซึ่งช่วยให้สะดวกขึ้นมากรวมทั้งในกรณีต้องการเชนจ์เกียร์เพื่อใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรค (เอนจิ้นเบรค) เช่น ขณะถนนลื่นหรือลงจากที่สูงก็ใช้ได้ นอกจำโปรแกรมทั่ว ๆ ไปในรถบางรุ่น โดยเฉพาะพวกรถสปอร์ตหรือนั่งจะมีปุ่มที่เขียนว่า Sport-Comfort ปุ่มต่อมาอันนี้จะไม่อยู่ที่หัวเกียร์ ส่วนมากจะอยู่ที่แผงหน้าปัทม์หรือบริเวณคอนโซลข้าง ๆ คันเกียร์ในรถบางรุ่นจะใช้ Sport Economy โปรแกรมนี้ออกแบบมาให้จังหวะการเปลี่ยนเกียร์ช้าลงในโปรแกรม Sport หมายถึงจะลากเกียร์ได้ยาวขึ้นและเกียร์จะเปลี่ยนที่รอบเครื่องยนต์สูงขึ้นกว่าเดิมทำให้ได้อัตราเร่งที่ดีขึ้น ต่างจากในโปรแกรม Comfort หรือ Economy ซึ่งเน้นที่ความนุ่มนวลและประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง เกียร์จะเปลี่ยนตั้งแต่ความเร็วรอบเครื่องยนต์รอบที่ต่ำกว่าเหมือนตอนที่เราขับรถเกียร์ธรรมดาตอนที่ไม่รีบร้อนนั่นเอง ทำให้ผู้โดยารนั่งสบายไม่เกิดการกระชากที่รุนแรงเหมือนนั่งรถแข่ง เราได้ทราบเรื่องการทำงานและโปรแกรมการสิ่งให้เกียร์ทำงานได้ผู้ขับขี่ในแบบต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับการขับขี่ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การขับขี่ในสภาพทางที่เป็นภูเขาสูงหรือต้องการอัตราเร่งที่ดีกว่าปกติก็สามารถลากเกียร์ให้ยาวขึ้นในโปรแกรม Sport การใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรคขณะลงจากทางสูงชัน ผ่านตำแหน่งเกียร์ที่ถูกต้อง ซึ่งท่านใดที่ยังไม่เข้าใจก็ลองย้อนกลับไปอ่านอีกครั้งหรือสองครั้งเพราะเป็นพื้นฐานความรุ้ที่น่าสนใจสำหรับผู้ไม่คุ้นเคย เมื่อคู่ได้พูดถึงโปรแกรมการทำให้จังหวะการเปลี่ยนเกียร์ช้างลงเพื่อให้ลากเกียร์ได้ยาวขึ้น เพื่อให้มีการเปลี่ยนเกียร์ในความเร็วรอบเครื่องยนต์ที่สูงขึ้นกว่าโปรแกรมธรรมดาซึ่งจะทำให้อัตราเร่งของรถดีขึ้น ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวจะเลือกใช้ได้โดยการกดปุ่ม ซึ่งมีเขียนบอกไว้ในแบบต่าง ๆ เช่น Sport-Comfort และ Sport-Economay รวมทั้งอีกตัวหนึ่งคือคำว่า Power ซึ่งเมื่อครู่ไม่ได้บอกไว้ เผื่อไปเจอจะสงสัยว่าเป็นปุ่มอะไรเอาไว้กดทำไม เพราะในรถบางรุ่นจะมีเพียงปุ่มกดและคำว่า Power นี้เพียงอย่างเดียว ในลักษณะ On-Off หรือเปิด-ปิด คือ ใช้โปรแกรม Power กับไม่ใช้เท่านั้น "เกียร์ธรรมดาในเกียร์อัตโนมัติ" โปรแกรมต่อมาที่เห็นในรถบางรุ่นส่วนมากจะเป็นรถสปอร์ตหรือสปอร์ตซีดาน หรือรถที่มีสมรรถนะค่อนข้างสูง จะมีปุ่มกดที่เขียนว่า Hold หรือ Auto Manual เพื่อการขับขี่ในลักษณะของเกียร์ธรรมดาเพื่อความคล่องตัวยิ่งขึ้น จึงได้มีโปรแกรมนี้เพิ่มขึ้นมา โดยตำแหน่ง Hold หรือ Manual จะมีความหมายเดียวกันคือเป็นการล็อคเกียร์ในตำแหน่ง ต่าง ๆ ไว้ให้เปลี่ยนตามจังหวะการโยกคันเกียร์ของผู้ขับแต่เพียงอย่างเดียว ไม่ว่ารถจะวิ่งในความเร็วเท่าไรตำแหน่งเกียร์จะเป็นไปตามตำแหน่งของคันเกียร์ตลอดเวลาทำให้ผู้ขับสามารถเลือกเปลี่ยนเกียร์ได้ตามต้องการคือ ต้องการลากรอบเครื่องยนต์ให้สูง ๆ แล้วค่อยเปลี่ยนเกียร์เพื่ออัตราเร่งที่ดีหรือต่อเนื่องยิ่งกว่สในโปรแกรม Sport หรือ Power หรือต้องการเชนจ์เกียร์ลงมาในเกียร์ต่ำเพื่อการใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรคได้ตามต้องการ เช่นเดียวกับการขับรถเกียร์ธรรมดาซึ่งดีกว่าตรงไม่ต้องเหยียบคลัทช์ทำให้มีความคล่องตัวและสนุกกว่า และจะทำได้เฉพาะรถที่มีโปรแกรมนี้เท่านั้นหากเป็นรุ่นที่ไม่มีปุ่ม Hold หรือ Manual ให้เลือกการขับขี่จะทำได้เพียงการเข้าเกียร์ในตำแหน่งต่าง ๆ ด้วยผู้ขับเช่นกัน แต่จังหวะการเปลี่ยนเกียร์อาจจะไม่เปลี่ยนตามการโยกคันเกียร์ในทันทีทันใด เช่น เมื่อต้องการเชนจ์เกียร์เพื่อให้เครื่องยนต์ช่วยเบรคในขณะที่เครื่องยนต์มีความเร็วรอบสูง ๆ เกียร์จะไม่ยอมเปลี่ยนตามเพราะในโปรแกรมของภายในตัวเกียร์ได้ตั้งให้มีการเปลี่ยนเกียร์ตามสภาพความเร็วรอบเครื่องยนต์และแรงบิดจากเพลากลาง เมื่อรอบเครื่องยนต์ยังสูงมันจึงไม่ยอมเปลี่ยนเพราะรับคำสั่งมาว่าในรอบขนาดนี้มันจะต้องเปลี่ยนเกียร์ให้สูงขึ้น เมื่อเราโยกคันเกียร์มาในเกียร์ต่ำก็เลยยังไม่เปลี่ยนตำแหน่งตามลงมาจนกว่ารอบเครื่องยนต์จะลดลง ซึ่งต้องเสียเวลาไปชั่วระยะอึดใจตั้งแต่ถอนคันเร่ง การขับรถลงภูเขาควรระวังไว้เช่นกันในกรณีนี้อย่าปล่อยให้รถไหลในความเร็วสูง ๆ แล้วมาเชนจ์เกียร์เพราะถ้าความเร็วรอบเครื่องสูงเกินกำหนดเกียร์จะไม่เปลี่ยนทันทีทันใดหากไม่มีโปรแกรม Hold กับ Manual อย่างใดอย่างหนึ่งผู้ขับจะต้องใช้การแตะเบรคช่วยให้รอบเครื่องลดลง การขับที่ถูกวิธี คือ เมื่อขับอยู่ในตำแหน่งเกียร์ 3 และเมื่อเห็นว่าความชันของเส้นทางที่ลงมีมากจนแรงหน่วงไม่พอในเกียร์นี้ และรถเริ่มเพิ่มความเร็วขึ้นควรรีบเชนจ์มาเกียร์ 2 แต่เนิ่น ๆ ตำแหน่งเกียร์จะเปลี่ยนมาทันที การออกรถในโปรแกรมนี้จะทำได้เช่นเดียวกับเกียร์ธรรมดาทุกประการคือ เริ่มออกรถในตำแหน่งเกียร์ 1 หรือ L และสามารถเปลี่ยนเกียร์ 2 ได้ในความเร็วรอบเครื่องต่าง ๆ กันตามต้องการ ไม่ว่าจะเอาแบบลากรอบสูงหรืออยากเปลี่ยนแบบนิ่ม ๆ ที่รอบปานกลางไปตามลำดับจนถึงตำแหน่ง D ซึ่งในช่วงเกียร์ 2 ได้ในความเร็วรอบเครื่องต่าง ๆ กันตามต้องการ ไม่ว่าจะเอาแบบลากรอบสูงหรืออยากเปลี่ยนแบบนิ่ม ๆ ที่รอบปานกลางไปตามลำดับจนถึงตำแหน่ง D ซึ่งในช่วงเกียร์ 3 กับ 4 ก็ใช้ปุ่ม OD ร่วมด้วยเท่านั้น รถก็จะมีการเปลี่ยนเกียร์ครบทั้ง 4 เกียร์ การเชนจ์เกียร์ก็ทำได้เช่นเดียวกันโดยย้อนกลับจากตอนออกรถ โปรแกรมนี้จะมีในรถเกียร์ออโตทุกรุ่นซึ่งไม่มีปุ่มให้กดโดยจะอยู่ที่คันเร่งนั่นเอง คือ การที่เมื่อเราต้องการเชนจ์เกียร์มาในเกียร์ต่ำเพื่อการเร่งแซงก็เพียงแต่กดดันคันเร่งลงไปให้มิด เกียร์จะเปลี่ยนลงไปเป็นเกียร์ต่ำกว่าเกียร์ที่ใช้อยู่ และรอบเครื่องยนต์จะเพิ่มขึ้น เพราะเราเหยียบคันเร่งในตำแหน่งเร่งสุดรถจะมีการพุ่งหรือสปริ้นท์ตัวไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในการเร่งแซง เมื่อแซงเสร็จเรียบร้อยแล้วความเร็วความเร็วรถเพิ่มขึ้นก็จะมีการเปลี่ยนเกียร์กลับมาในเกียร์สูงตามเดิมโดยเราไม่ต้องทำอะไรกับคันเกียร์ นอกจากการเร่งแซงแล้วก็ยังใช้ในโอกาสอื่น ๆ เช่น การขึ้นที่สูงชัน[/COLOR][/SIZE][/QUOTE]
Log in with Facebook
Log in with Twitter
Log in with Google
Your name or email address:
Do you already have an account?
No, create an account now.
Yes, my password is:
Forgot your password?
Stay logged in
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
Forums
>
Community Team and group
>
Team and Group
>
DNA Racing Club
>
เรื่องน่ารู้สำหรับคลับเรานะครับ
>
X
Home
Home
Quick Links
Recent Posts
Recent Activity
Authors
Forums
Forums
Quick Links
Search Forums
Recent Posts
Classifieds
Classifieds
Quick Links
Search Classifieds
Recent Activity
Top Rated Traders
Media
Media
Quick Links
Search Media
New Media
Members
Members
Quick Links
Notable Members
Registered Members
Current Visitors
Recent Activity
New Profile Posts
Menu
Search titles only
Posted by Member:
Separate names with a comma.
Newer Than:
Search this thread only
Search this forum only
Display results as threads
Useful Searches
Recent Posts
More...