เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
Sport Truck.
>
BASIC MODIFLY DIESEL ENGINE...2008 By sport truck
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="p_sutipoj, post: 486105, member: 7614"]อายุเป็นเพียงแต่ตัวเลขครับ........ไปกันต่อดีกว่าครับ ออกมานอกเรื่องกันมากแล้ว....... คนอ่านเห็นตัวหนังสือเยอะอย่างนี้หนีไปกระทู้พักสายตากันหมดพอดี กรั่กๆๆๆ</p><p><br /></p><p>ดังนั้น ดีเซลไม่ใช่เบ็นซิล ที่จะหมุนเท่าไหร่ก็ได้..........??? ทำไมถึงหมุนเท่าไหร่ก็ได้ล่ะ........ อยากรู้ไหม ผมจะพูดคร่าวๆก็แล้วแบบว่าไม่ต้องลงลึกก็ได้ คือเครื่องเบ็นซิลหมุนได้จี๋.....ก็เพราะว่า มันดูไอดีที่มีน้ำมันพร้อมที่จะระเบิดได้ทุกเมื่อ แล้วบีบอัดขึ้นไปจนถึง ศูนย์ตายบน อากาศถูกปีบเกิดความร้อนสูงแต่ร้อนน้อยกว่าเครื่องดีเซล(เพราะกำลังอัดต่ำกว่ามาก ประมาณ 8 -10 แล้วแต่รุ่น) ไอดีก็ร้อนน้อยกว่ามันยังไม่เผาไหม้เลย(ถ้ามันเผาตอนนี้มันก็เจ๋งพอดี)แล้วข้อเหวี่ยงก็คล้อยเลย0ตายบนไป 10 องศาให้สามารถรับแรงที่จะเกิดเปลี่ยนเป็นพลังงานกลได้ดีมากที่สุด พอลูกสูบเลื่อนมาได้ 10 องศา กล่องก็สั่งจุดระเบิด เปรี้ยง+++!!!! น้ำมันและอากาศถูกเผาไหม้ดันลูกสูบเลื่อนลงไปเกิดเป็นแรงบิดขึ้นมา แล้วนึกภาพดูอะไรทำให้มันหมุนได้จัดขนาดนั้น........ ก็เพราะมันจะหมุน5000รอบ หรือ 10000 รอบ ก็แค่สั่งให้หัวเทียนจุดแลบไฟขึ้นมันก็ได้พลังงานกลแล้ว ยิ่งถ้าได้น้ำมันที่ติดไฟเร็วมากๆ จะทำให้ การลุกไหม้ทำได้รวดเร็วมากขึ้นยิ่งทำให้ข้อเหวี่ยงรับแรงได้ทันก่อนที่ลูกสูบจะเลื่อนลงไปมากกว่า 10 องศา(เพราะปริมาตรมันเพิ่มขึ้น) ดังนั้น เบนซิลจะทำแรงม้าได้ จาก Rpm ก็ได้ ซึ่งดีเซลทำได้ไม่มาก ยิ่งถ้าเครื่องเบนซิลทำแรงบิดให้สูงได้อีกยิ่งกระฉูดเพราะว่า แรงม้า คือ ตัวคูณระหว่าง รอบกับแรงบิด นั่นเอง แต่หากจะเพิ่มแรงบิดของเครื่องบนซิลนั้นทำได้ยาก พอดู เพราะ ถ้าจะเพิ่มบุสท์แบบดีเซลไม่ได้ เนื่องจากถ้าเพิ่มบูสท์เข้าไป ทำให้กำลังอัดในห้องเผาไหม้สูงมากขึ้นความร้อนจากการบีบอัดของลูกสูบถ้าสูงมากเกินกว่าค่าอ๊อกเทนน้ำมันจะรับได้ มันก็จะชิงระเบิดก่อนที่หัวเทียนจะจุดอีกร่องแหวนแตกเอาง่ายๆ....และยังมีปัญหาน้ำมันต่ออากาศมาแปรปรวนอีก ยิ่งบาง ยิ่งร้อนจัดลูกละลายแหวนตายลูกติดอีก มันจึงศาสตร์อย่างหนึ่งที่ยิ่งกว่าดีเซลอีกที่ต้องทำไปพร้อมๆกัน ลองคิดดูว่าถ้าเรามีกล่องเทพๆที่สั่งได้ไม่ตัดรอบ........ถ้าบูสท์ 2 บาร์เครื่องน็อกชิงจุดระเบิดก็จริงแต่ถ้าเราใส่อินเตอร์คูลเลอร์ที่โคตรๆๆๆๆเย็นเข้าไป(ทำให้เราเห็นอินเตอร์คูลเลอร์หน้าตาแปลกๆ เพราะแบบอากาศมันเบๆเกินไปแล้วแล้ว) ทำให้อุณหภูมิไอดีเย็นๆมากๆ เมื่อถูกบีบอัดแล้วอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจริงแต่ค่าอ็อกเทนยังรับได้ ก็ทำให้ได้แรงบิดอย่างมหาศาลจากเครื่องเล็ก นี่ยังไม่กล่าวถึงช่วงโอเวอร์แล็บของไอดีไอเสียเลนะ มันไม่รู้จะพูดอย่างไร มันกอดคอกันไปด้วยกันหมดเลยอ่ะ......... </p><p> ดังนั้น ดีเซลมีทางเดียวก็คือ ทำแรงบิดให้เยอะที่สุดเท่าที่จะทำได้ทำได้โดย.......ปุจฉา เพิ่มแรงบิดของเครื่องดีเซลทำอย่างไร[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="p_sutipoj, post: 486105, member: 7614"]อายุเป็นเพียงแต่ตัวเลขครับ........ไปกันต่อดีกว่าครับ ออกมานอกเรื่องกันมากแล้ว....... คนอ่านเห็นตัวหนังสือเยอะอย่างนี้หนีไปกระทู้พักสายตากันหมดพอดี กรั่กๆๆๆ ดังนั้น ดีเซลไม่ใช่เบ็นซิล ที่จะหมุนเท่าไหร่ก็ได้..........??? ทำไมถึงหมุนเท่าไหร่ก็ได้ล่ะ........ อยากรู้ไหม ผมจะพูดคร่าวๆก็แล้วแบบว่าไม่ต้องลงลึกก็ได้ คือเครื่องเบ็นซิลหมุนได้จี๋.....ก็เพราะว่า มันดูไอดีที่มีน้ำมันพร้อมที่จะระเบิดได้ทุกเมื่อ แล้วบีบอัดขึ้นไปจนถึง ศูนย์ตายบน อากาศถูกปีบเกิดความร้อนสูงแต่ร้อนน้อยกว่าเครื่องดีเซล(เพราะกำลังอัดต่ำกว่ามาก ประมาณ 8 -10 แล้วแต่รุ่น) ไอดีก็ร้อนน้อยกว่ามันยังไม่เผาไหม้เลย(ถ้ามันเผาตอนนี้มันก็เจ๋งพอดี)แล้วข้อเหวี่ยงก็คล้อยเลย0ตายบนไป 10 องศาให้สามารถรับแรงที่จะเกิดเปลี่ยนเป็นพลังงานกลได้ดีมากที่สุด พอลูกสูบเลื่อนมาได้ 10 องศา กล่องก็สั่งจุดระเบิด เปรี้ยง+++!!!! น้ำมันและอากาศถูกเผาไหม้ดันลูกสูบเลื่อนลงไปเกิดเป็นแรงบิดขึ้นมา แล้วนึกภาพดูอะไรทำให้มันหมุนได้จัดขนาดนั้น........ ก็เพราะมันจะหมุน5000รอบ หรือ 10000 รอบ ก็แค่สั่งให้หัวเทียนจุดแลบไฟขึ้นมันก็ได้พลังงานกลแล้ว ยิ่งถ้าได้น้ำมันที่ติดไฟเร็วมากๆ จะทำให้ การลุกไหม้ทำได้รวดเร็วมากขึ้นยิ่งทำให้ข้อเหวี่ยงรับแรงได้ทันก่อนที่ลูกสูบจะเลื่อนลงไปมากกว่า 10 องศา(เพราะปริมาตรมันเพิ่มขึ้น) ดังนั้น เบนซิลจะทำแรงม้าได้ จาก Rpm ก็ได้ ซึ่งดีเซลทำได้ไม่มาก ยิ่งถ้าเครื่องเบนซิลทำแรงบิดให้สูงได้อีกยิ่งกระฉูดเพราะว่า แรงม้า คือ ตัวคูณระหว่าง รอบกับแรงบิด นั่นเอง แต่หากจะเพิ่มแรงบิดของเครื่องบนซิลนั้นทำได้ยาก พอดู เพราะ ถ้าจะเพิ่มบุสท์แบบดีเซลไม่ได้ เนื่องจากถ้าเพิ่มบูสท์เข้าไป ทำให้กำลังอัดในห้องเผาไหม้สูงมากขึ้นความร้อนจากการบีบอัดของลูกสูบถ้าสูงมากเกินกว่าค่าอ๊อกเทนน้ำมันจะรับได้ มันก็จะชิงระเบิดก่อนที่หัวเทียนจะจุดอีกร่องแหวนแตกเอาง่ายๆ....และยังมีปัญหาน้ำมันต่ออากาศมาแปรปรวนอีก ยิ่งบาง ยิ่งร้อนจัดลูกละลายแหวนตายลูกติดอีก มันจึงศาสตร์อย่างหนึ่งที่ยิ่งกว่าดีเซลอีกที่ต้องทำไปพร้อมๆกัน ลองคิดดูว่าถ้าเรามีกล่องเทพๆที่สั่งได้ไม่ตัดรอบ........ถ้าบูสท์ 2 บาร์เครื่องน็อกชิงจุดระเบิดก็จริงแต่ถ้าเราใส่อินเตอร์คูลเลอร์ที่โคตรๆๆๆๆเย็นเข้าไป(ทำให้เราเห็นอินเตอร์คูลเลอร์หน้าตาแปลกๆ เพราะแบบอากาศมันเบๆเกินไปแล้วแล้ว) ทำให้อุณหภูมิไอดีเย็นๆมากๆ เมื่อถูกบีบอัดแล้วอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจริงแต่ค่าอ็อกเทนยังรับได้ ก็ทำให้ได้แรงบิดอย่างมหาศาลจากเครื่องเล็ก นี่ยังไม่กล่าวถึงช่วงโอเวอร์แล็บของไอดีไอเสียเลนะ มันไม่รู้จะพูดอย่างไร มันกอดคอกันไปด้วยกันหมดเลยอ่ะ......... ดังนั้น ดีเซลมีทางเดียวก็คือ ทำแรงบิดให้เยอะที่สุดเท่าที่จะทำได้ทำได้โดย.......ปุจฉา เพิ่มแรงบิดของเครื่องดีเซลทำอย่างไร[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
Sport Truck.
>
BASIC MODIFLY DIESEL ENGINE...2008 By sport truck
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...