เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
EK Group
>
ตัดสปริงกี่นิ้วดีคับ
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="maythee, post: 682773, member: 74516"]เอาเป็นว่า เริ่มกันเลยนะคับ</p><p>สปริงจะยุบตัวลงไปในอัตราส่วนคงที่ (linear) ตามน้ำหนัก/แรงที่กดลงไปบนตัวมัน </p><p><br /></p><p>เพราะฉนั้นจากประโยคข้างต้น เราจะได้คำสามคำ ก็คือ </p><p>- น้ำหนัก/แรง ที่กระทำต่อตัวมัน หรือเรียกว่า Spring Force ใช้ตัวย่อว่า F หน่วยวัดจะเป็น lbf หรือไม่ก็ Newton (N) </p><p>- ระยะที่สปริงยุบตัว หรือเรียกว่า Displacement ใช้ตัวย่อว่า ∆ อันนี้หาได้จากความยาวของสปริงตอนที่ยังไม่ถูกกด (Spring Free Length) ลบด้วยความยาวของสปริงหลังจากถูกกด (Deformed Length) หน่วยของมันจะเป็นนิ้ว (in) หรือไม่ก็เมตร (m) หรือ มิลลิเมตร (mm) </p><p>- อัตราส่วนคงที่ หรือที่เราเรียกว่าค่า k หน่วยของมันจะเป็น lbf/in หรือ N/m หรือ N/mm แล้วแต่หน่วยของค่าตัวแปรสองตัวแรกที่ใส่เข้าไป ใช้ทั้งสองแบบ </p><p><br /></p><p>ตามกฏของ Hooke ก็จะเขียนสมการออกมาได้เป็น: </p><p>F = k ∆ </p><p>ถ้าเราต้องการจะหาค่า k ของสปริงมันก็กลับข้างสมการเสียก็จะได้เป็น: </p><p>K = F/ ∆ </p><p><br /></p><p>ง่ายๆแค่นี้ เพราะฉนั้นมาลองแปลความหมายกันดู อย่าไปเที่ยวท่องจำสูตรอย่างเดียวแต่ไม่รู้ว่าเอาไปทำอะไรได้ เหมือนเอาครกกับสากมาตั้งไว้กลางบ้านเช็ดเช้าเช็ดเย็น แต่ไม่รู้ว่ามันใช้ตำน้ำพริกได้ </p><p><br /></p><p>สมมติว่า: </p><p>F = 20 N </p><p>Spring Free Length = 0.2 m (หรือ 20 cm, หรือ 200 mm) </p><p>Deformed Length = 0.14 m (หรือ 14 cm, หรือ 140 mm) </p><p>ก็จะได้ ∆ = 0.06 m (หรือ 6 cm, หรือ 60 mm) </p><p><br /></p><p>เพราะฉนั้นสปริงตัวนี้จะมีค่า k เท่ากับ 20/0.06 = 333 N/m </p><p><br /></p><p>ตรงนี้จะแปลความหมายได้ว่า สปริงตัวนี้จะยุบลงไปด้วยอัตราส่วนคงที่ 1 เมตร ตามน้ำหนัก/แรงที่กดลงไปทุกๆ 333 นิวตัน แต่มันนี้ไม่ได้หมายความว่าสปริงจะยุบทีละเมตรนะครับ เป็นสัดส่วนบอกให้รู้เฉย หากจะดูว่าหากสปริงมันยุบลงไป 10mm จะต้องใช้แรงเท่าไหร่ ก็เทียบเป็นสัดส่วนของอันนี้ไป </p><p><br /></p><p>ลองอีกที </p><p>F = 50 N ส่วนตัวอื่นเท่าเดิม </p><p>เพราะฉนั้นสปริงตัวนี้จะมีค่า k เท่ากับ 50/0.06 = 833 N/m </p><p><br /></p><p>จากตัวอย่างที่ยกมาทั้งสองตัว จะเห็นได้ว่าค่า k จะแปรผันตรงกับน้ำหนัก/แรงที่กดลงที่สปริง จึงสรุปได้ว่า </p><p><br /></p><p>ยิ่งค่า k มาก ==> สปริงจะแข็งมาก ==>ต้องใช้น้ำหนัก/แรงกด มาก </p><p><br /></p><p><br /></p><p>สรุปนะคับ โหลดรถลงมารถ สวยขึ้น เข้าโค้งดี หนึบ ข้อดีเยอะคับ แต่อย่าโหลดมาก ไม่หนึบ แถมเด้งอีก คับ</p><p><br /></p><p>เรื่องตัดสปริง ไม่แนะนำคับ ค่า k ของสปริงเพี้ยน</p><p>ซื้อ สปริงโหลด มาเปลี่ยน ดูค่า k ให้ พอดีกัย น้ำหนักรถนะคับ[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="maythee, post: 682773, member: 74516"]เอาเป็นว่า เริ่มกันเลยนะคับ สปริงจะยุบตัวลงไปในอัตราส่วนคงที่ (linear) ตามน้ำหนัก/แรงที่กดลงไปบนตัวมัน เพราะฉนั้นจากประโยคข้างต้น เราจะได้คำสามคำ ก็คือ - น้ำหนัก/แรง ที่กระทำต่อตัวมัน หรือเรียกว่า Spring Force ใช้ตัวย่อว่า F หน่วยวัดจะเป็น lbf หรือไม่ก็ Newton (N) - ระยะที่สปริงยุบตัว หรือเรียกว่า Displacement ใช้ตัวย่อว่า ∆ อันนี้หาได้จากความยาวของสปริงตอนที่ยังไม่ถูกกด (Spring Free Length) ลบด้วยความยาวของสปริงหลังจากถูกกด (Deformed Length) หน่วยของมันจะเป็นนิ้ว (in) หรือไม่ก็เมตร (m) หรือ มิลลิเมตร (mm) - อัตราส่วนคงที่ หรือที่เราเรียกว่าค่า k หน่วยของมันจะเป็น lbf/in หรือ N/m หรือ N/mm แล้วแต่หน่วยของค่าตัวแปรสองตัวแรกที่ใส่เข้าไป ใช้ทั้งสองแบบ ตามกฏของ Hooke ก็จะเขียนสมการออกมาได้เป็น: F = k ∆ ถ้าเราต้องการจะหาค่า k ของสปริงมันก็กลับข้างสมการเสียก็จะได้เป็น: K = F/ ∆ ง่ายๆแค่นี้ เพราะฉนั้นมาลองแปลความหมายกันดู อย่าไปเที่ยวท่องจำสูตรอย่างเดียวแต่ไม่รู้ว่าเอาไปทำอะไรได้ เหมือนเอาครกกับสากมาตั้งไว้กลางบ้านเช็ดเช้าเช็ดเย็น แต่ไม่รู้ว่ามันใช้ตำน้ำพริกได้ สมมติว่า: F = 20 N Spring Free Length = 0.2 m (หรือ 20 cm, หรือ 200 mm) Deformed Length = 0.14 m (หรือ 14 cm, หรือ 140 mm) ก็จะได้ ∆ = 0.06 m (หรือ 6 cm, หรือ 60 mm) เพราะฉนั้นสปริงตัวนี้จะมีค่า k เท่ากับ 20/0.06 = 333 N/m ตรงนี้จะแปลความหมายได้ว่า สปริงตัวนี้จะยุบลงไปด้วยอัตราส่วนคงที่ 1 เมตร ตามน้ำหนัก/แรงที่กดลงไปทุกๆ 333 นิวตัน แต่มันนี้ไม่ได้หมายความว่าสปริงจะยุบทีละเมตรนะครับ เป็นสัดส่วนบอกให้รู้เฉย หากจะดูว่าหากสปริงมันยุบลงไป 10mm จะต้องใช้แรงเท่าไหร่ ก็เทียบเป็นสัดส่วนของอันนี้ไป ลองอีกที F = 50 N ส่วนตัวอื่นเท่าเดิม เพราะฉนั้นสปริงตัวนี้จะมีค่า k เท่ากับ 50/0.06 = 833 N/m จากตัวอย่างที่ยกมาทั้งสองตัว จะเห็นได้ว่าค่า k จะแปรผันตรงกับน้ำหนัก/แรงที่กดลงที่สปริง จึงสรุปได้ว่า ยิ่งค่า k มาก ==> สปริงจะแข็งมาก ==>ต้องใช้น้ำหนัก/แรงกด มาก สรุปนะคับ โหลดรถลงมารถ สวยขึ้น เข้าโค้งดี หนึบ ข้อดีเยอะคับ แต่อย่าโหลดมาก ไม่หนึบ แถมเด้งอีก คับ เรื่องตัดสปริง ไม่แนะนำคับ ค่า k ของสปริงเพี้ยน ซื้อ สปริงโหลด มาเปลี่ยน ดูค่า k ให้ พอดีกัย น้ำหนักรถนะคับ[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
EK Group
>
ตัดสปริงกี่นิ้วดีคับ
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...