เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
Find Friend
>
:?: Samsen Group ??????????????ʹ??Ѻ?Է????? www.racingweb.net/samsengroup/ :?:
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="n!Cs`RCW, post: 217942, member: 220"]<img src="http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/9/9e/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87.jpg/180px-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87.jpg" class="bbCodeImage wysiwygImage" alt="" unselectable="on" /></p><p><br /></p><p>ได้บอร์ดเเล้วนะครับ <a href="http://www.racingweb.net/samsengroup/" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="http://www.racingweb.net/samsengroup/" rel="nofollow">www.racingweb.net/samsengroup/</a></p><p><br /></p><p><br /></p><p>มีพี่ๆ คนใหน เคย เรียน ที่ สามเสนวิทยาลัย บ้างครับ</p><p><br /></p><p>เรียน รุ่นใหนกันบ้าง จบไปกีปีเเล้วอ่ะครับ</p><p><br /></p><p><img src="styles/default/xenforo/clear.png" class="mceSmilieSprite mceSmilie1" alt=":)" unselectable="on" unselectable="on" /> </p><p><br /></p><p>ไม่ค่อยเจอรุ่นพี่ในเว็ปเลย</p><p><br /></p><p>************************************************************************************</p><p><br /></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บนถนนพระราม 6 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประมาณ 3500 คน ปรัชญาโรงเรียน คือ สทฺธา สาธํ ปติฏฐิตา แปลว่า "ศรัทธาตั้งมั่นแล้ว ยังประโยชน์ให้สำเร็จ" ต้นไม้ประจำโรงเรียน คือ ต้นนนทรี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) โรงเรียนมีอายุครบ 52 ปี</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ประวัติ</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ปีการศึกษา 2494 กระทรวงศึกษาธิการมีโครงการสร้างโรงเรียนฝึกหัดครูอีกแห่งหนึ่ง ที่ตำบลพญาไท อำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร ต่อมาเนื่องจากสถาพความจำเป็นเกี่ยวกับสถานที่เรียนของนักเรียนมัธยมมีไม่เพียงพอ กระทรวงศึกษาธิการจึงโอนโรงเรียนที่กำลังก่อสร้างนี้ให้เป็นโรงเรียนของกรมวิสามัญศึกษา เรียกชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า โรงเรียนรางน้ำ และย้ายนักเรียนจำนวน 57 คนที่คุรุสภาส่งไปฝากเรียนที่โรงเรียนวัดราชาธิวาสเข้ามาเรียนที่โรงเรียนรางน้ำ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2494 ต่อมา ปีการศึกษา 2495 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในสมัยนั้น ได้ตั้งชื่อโรงเรียนอย่างเป็นทางการว่าโรงเรียนศรีอยุธยา มีนายพงษ์ แสงทอง เป็นครูใหญ่คนแรก และในปีเดียวกันนั้นเองได้มีนักเรียนหญิงจำนวนหนึ่งเข้าไปเรียน แต่ไม่ได้รวมเป็นโรงเรียนเดียวกัน ฝ่ายโรงเรียนหญิงได้มอบหมายให้ น.ส.เศวต จึงเจริญ เป็นครูใหญ่</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ครั้นต่อมาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 กรมวิสามัญศึกษาได้ส่งนักเรียนชายซึ่งไม่มีที่เรียนและคุรุสภารับไว้ ตั้งแต่ชั้น ม.1-ม.6 เข้าไปเรียนเพิ่มเติมจนสถานที่คับแคบ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดหาซื้อที่ดินของเอกชนมรดกของพระยาเพชรปรานี จำนวน 3 แปลง รวมเนื้อที่ 22 ไร่ 1 งาน 44 ตารางวา เพื่อแยกโรงเรียนและเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2497 และได้ย้ายนักเรียนชายจากโรงเรียนศรีอยุธยามาเข้าเรียนเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2498 ให้ชื่อโรงเรียนอย่างเป็นทางการว่า " โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย "</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ต่อมาในปีการศึกษา 2510 กระทรวงศึกษาธิการได้คัดเลือกโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย เป็นโรงเรียนแรกและโรงเรียนเดียว ซึ่งใช้หลักสูตรโครงการมัธยมศึกษาแบบประสม (คมส.) และได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนสหศึกษานับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ในปีการศึกษา 2548 โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรการเรียนการสอน " โครงการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เป็นภาษาอังกฤษ" หรือ English Program เป็นปีการศึกษาแรก</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">เกียรติประวัติ</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2515 นักเรียนชั้นม.ศ.5 หลักสูตรโครงการมัธยมศึกษาแบบประสม (คมส.)รุ่นแรก แผนกวิทยาศาสตร์ สอบได้เป็นที่ 1 ของประเทศไทย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2522 โรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2527 นักเรียน ม.6 หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 รุ่นแรก สายศิลปะ สอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาได้เป็นที่ 1 ของประเทศไทย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2535 นายกิตติศักดิ์ หยกทองวัฒนา ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2537 น.ส.ปรียานุช แสงไตรรัตนนุกูล ได้รีบเหรียญเงิน ในการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ และนายปกรณ์ แสงสุเรนทร์ ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2538 น.ส.สิรินญา มัจฉาชีพ ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ และนายพลพิบูล สตางค์พุฒ ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2539 นายแทนไท ประเสริฐกุล ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2540 โรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน จากพระบาทสมเด็จพระเข้าอยู่หัว และนายวินัย วงศ์สุรวัฒน์ ได้รับทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2541 น.ส.วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ ได้รับทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาศิลปศาสตร์ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2542 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯทรงเปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา และโรงเรียนได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ISO 14001 จาก UKAS สหราชอาณาจักร </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2543 หม่อมเจ้าหญิงสิริวัณณวรี มหิดล (พระยศในขณะนั้น)เสด็จเป็นองค์ประธานในงานเดินวิ่ง "สามเสนฯเพื่อการศึกษา" ที่ กระทรวงสาธารณสุข และนายพงศกร ฐิตโชติ ได้รับเหรียญเงิน ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2544 น.ส.เอมอร ทองเป็นใหญ่ ได้รับทุนทำโครงการวิจัย ระดับปริญญาตรี-โท-เอก จากสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2545 นายกิตติคุณ วังกานนท์ ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ และนายอภิชาติ อภัยวงศ์ ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2546 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในนขณะนั้น ได้เดินทางมาเป็นประธานเปิดงานการประชุมทางไกล โครงการอบรมครูหนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน และจัดบรรยายเรื่อง "สอนอย่างไรให้ถึงฝัน" ณ หอประชุมอาคารอเนกประสงค์ และได้ถ่ายทอดสดการสอนคณิตศาสตร์ที่อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา และในปีเดียวกันนี้ นายอัมพล ลิขิตชัชวาลกุล ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกแห่งประเทศไทย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พ.ศ. 2549 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนพรรณวดี เสด็จทรงเปิดโครงการทูบีนัมเบอร์วันของโรงเรียน</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">สิ่งปลูกสร้าง</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 1 (ตึกหนึ่ง)สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2497 เป็นอาคารแรกและอาคารเดียวที่สร้างพร้อมกับการก่อตั้งโรงเรียน ปัจจุบันได้รับการบำรุงรักษาเป็นอย่างดี อาคารนี้ประกอบด้วย ห้องเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การเงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม)ห้องรับรอง ห้องประชุม ที่ทำการของสมาคมนักเรียนเก่าสามเสนวิทยาลัย ห้องพยาบาล สำนักงานงานฝ่ายบริหารการเงินและสินทรัพย์ และสำนักงานฝ่ายกิจการนักเรียน </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 2 (ตึกวิทยาศาสตร์)เดิมเป็นอาคารไม้ทั้งหลัง ต่อมาได้งบประมาณรื้อทิ้ง และสร้างใหม่เป็นอาคาร 4 ชั้น สร้างเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2512 ปัจจุบันอาคารนี้เป็นอาคารวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมปลายสายวิทยาศาสตร์ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และสำนักงานของฝ่ายบริหารวิชาการ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 3 (ตึกสาม) เดิมเป็นเรือนไม้แถวยาว สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2497 ต่อมาได้ถูกรื้อและสร้างใหม่ด้วยเงินสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เป็นอาคารสูง 5 ชั้น สร้างเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2517 ปัจจุบันประกอบด้วยห้องเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ห้องแนะแนว ห้องโสตทัศนศึกษาสำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นล่างมีสหกรณ์โรงเรียน ห้องสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย และห้องของคณะกรรมการนักเรียน และเมื่อปีพ.ศ. 2544 ในสมัยที่นายอำนาจ ศรีชัย เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน ได้สร้างส่วนต่อเติมเป็นสำนักงานผู้อำนวยการ ห้องเรียนรวม ห้องรับรอง และห้องประชุม ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนที่เพิ่มมากขึ้น </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 4 (ตึกศิลปะ) เดิมเป็นอาคารศิลปศึกษา สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2506 ต่อมาได้ถูกรื้อและสร้างใหม่เป็นอาคารสูง 5 ชั้นเมื่อปีพ.ศ. 2532 ปัจจุบันเป็นห้อสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมปลายสายศิลปะ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ห้องเรียนศิลปะ ห้องเรียนนาฎศิลป์ ห้องเรียนดนตรีสากล และห้องเรียนดนตรีไทย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 5(ตึกคหกรรม) เป็นอาคาร 2 ชั้น ปัจจุบันเป็นอาคารเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรมศาสตร์) </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 6 (โรงยิมส์) เป็นโรงพลศึกษา ไว้สำหรับเรียนวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และในปีพ.ศ. 2545 ได้ก่อสร้างสนามเทนนิสขนาดมาตรฐานขึ้นแทนสนามเดิม เพื่อรองรับการเรียนการสอนในวิชาพลศึกษา </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 7 (ตึกอุต) เป็นอาคาร 2 ชั้น สำหรับการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (อุตสาหกรรมศึกษา และ ธุรกิจศึกษา) ชั้นแรก เป็นห้องเรียนวิชา งานช่าง งานเหล็ก ส่วนชั้นที่ 2 เป็นห้องงานปั้น งานเขียนแบบ และห้องปฏิบัติการของวิชาธุรกิจศึกษา </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 8 (ตึก ศน.) สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2507 เดิมเป็นอาคารของหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาโรงเรียนได้รับคืนจากกระทรวงศึกษาธิการเมื่อปีพ.ศ. 2545 และโรงเรียนปรับปรุงภายนอกและภายในอาคารใหม่ทั้งหมด ปัจจุบันเป็นห้องเรียนของโครงการ English Program ห้องเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)รวมทั้งสำนักงานฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานโครงการ English Program ห้องลีลาศ และห้องออกกำลังกาย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคาร 9 (ตึกเก้า) เป็นส่วนต่อเติมของอาคาร 4 เพื่อรองรับจำนวนนักเรียนสายศิลปะที่เพิ่มมากขึ้น เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ชั้นที่ 1 และ 2 เป็นส่วนขยายของห้องสมุด ส่วนชั้นที่ 3 และ 4 เป็นห้องเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายศิลปะ รวมทั้งห้องปฏิบัติการทางภาษา </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคารอเนกประสงค์ (อเนก) สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2520 ด้วยเงินงบประมาณ เพื่อเป็นห้องประชุมขนาดใหญ่(ชั้นบน) และโรงอาหาร(ชั้นล่าง) </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ศาลาสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2525 สำหรับเป็นห้องประชาสัมพันธ์ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา (ตึกเฉลิม)สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2539 เป็นส่วนต่อเติมของอาคาร 2 เป็นศูนย์วิทยบริหาร ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ และห้องเรียนคณิตศาสตร์ อันทันสมัย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ศิษย์เก่าผู้มีชื่อเสียง</font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"><br /></font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ดร.วีรพงษ์ รามางกูร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายสุชาติ ตันเจริญ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ฯพณฯเฉลิมพล ทันจิตต์ เอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศสิงคโปร์ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ฯพณฯดุสิต จันตะเสน เอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศคูเวต </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายวีรศักดิ์ โควสุรัตน์ อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงวัฒนธรรม และ รองหัวหน้าพรรคชาติไทย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ศ.ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ ศาสตราจารย์ระดับ11 คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, นักวิทยาศาสตร์รางวัลยูเนสโก ประจำปี 2546 </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ศ.นพ.สมเกียรติ วงษ์ทิม ศาสตราจารย์ระดับ10 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">รศ.จุมพล รอดคำดี อดีตรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ กรรมการผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">รศ.นอ.ดร.วรพจน์ ขำพิศ คณบดีสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พล.อ.พนม จีนะวิจารณะ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุโขทัย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ อธิบดีกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ดร.อรรถ สมร่าง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ดร.ไมตรี ดวงสวัสดิ์ อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พล.อ.สมหมาย วิชาวรณ์ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พล.ร.อ.วรงค์ ส่งเจริญ ร.น. </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พล.ต.ท.ชลอ ชูวงษ์ ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พล.ต.ท.ดำรงศักดิ์ นิลคูหา อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">พล.ท.จิรสิทธิ เกษะโกมล อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายสมชัย สวัสดิผล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด(มหาชน)หรือ ทอท. </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ดร.อภิชาติ การิกาญจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครศรีธรรมราช </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายเชน เทือกสุบรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุราษฎร์ธานี </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายสามารถ แก้วมีชัย| สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงราย </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ดร.ถิรชัย วุฒิธรรม กรรมการบริหารการกีฬาแห่งประเทศไทย และ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายมนตรี เจนอักษร นักแสดง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">ร.ต.ท.นรบดี ศศิประภา (ก้อง) นักแสดง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายฐาวรา สิริพิพัฒน์ พิธีกรและเจ้าของนวนิยาย "The White Road" (นามปากกา"ดร.ป๊อป") </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายกรุณพล เทียนสุวรรณ (เพชร) นักแสดง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">น.ส.ฐิติมา ประทุมทิพย์ (แอนคูณสาม) นักร้อง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">น.ส.ศิริลักษณ์ ผ่องโชค (จอย) นักร้อง นักแสดง พิธีกร </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายตะวัน จารุจินดา (เติ้ล) นักร้อง นักแสดง พิธีกร </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายสิทธิ์ ตันติพิสิฐกุล หรือ พาทิศ ตันติพิสิฐกุล(ไผ่) ดัชชี่บอย และ นักแสดง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายวรรณสิงห์ ประเสริฐกุล (สิงห์) พิธีกร </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายธนกฤต พาณิชย์วิทย์ (ว่าน) นักร้อง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายวิญญู วงศ์สุรวัฒน์ (จอห์น) พิธีกร และ นักจัดรายการวิทยุ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายปฏิญญา วิโรจน์แสงประทีป (แอม) ดัชชี่บอย และ นักแสดง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายพิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร (ท็อป) พิธีกร และนักแสดง </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3">นายเล็ก วงศ์สว่าง อดีตนักจัดรายการวิทยุ </font></span></p><p><span style="color: LemonChiffon"><font size="3"></font></span>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="n!Cs`RCW, post: 217942, member: 220"][IMG]http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/9/9e/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87.jpg/180px-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87.jpg[/IMG] ได้บอร์ดเเล้วนะครับ [url]www.racingweb.net/samsengroup/[/url] มีพี่ๆ คนใหน เคย เรียน ที่ สามเสนวิทยาลัย บ้างครับ เรียน รุ่นใหนกันบ้าง จบไปกีปีเเล้วอ่ะครับ :) ไม่ค่อยเจอรุ่นพี่ในเว็ปเลย ************************************************************************************ [COLOR="LemonChiffon"][SIZE="3"]โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บนถนนพระราม 6 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประมาณ 3500 คน ปรัชญาโรงเรียน คือ สทฺธา สาธํ ปติฏฐิตา แปลว่า "ศรัทธาตั้งมั่นแล้ว ยังประโยชน์ให้สำเร็จ" ต้นไม้ประจำโรงเรียน คือ ต้นนนทรี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) โรงเรียนมีอายุครบ 52 ปี ประวัติ ปีการศึกษา 2494 กระทรวงศึกษาธิการมีโครงการสร้างโรงเรียนฝึกหัดครูอีกแห่งหนึ่ง ที่ตำบลพญาไท อำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร ต่อมาเนื่องจากสถาพความจำเป็นเกี่ยวกับสถานที่เรียนของนักเรียนมัธยมมีไม่เพียงพอ กระทรวงศึกษาธิการจึงโอนโรงเรียนที่กำลังก่อสร้างนี้ให้เป็นโรงเรียนของกรมวิสามัญศึกษา เรียกชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า โรงเรียนรางน้ำ และย้ายนักเรียนจำนวน 57 คนที่คุรุสภาส่งไปฝากเรียนที่โรงเรียนวัดราชาธิวาสเข้ามาเรียนที่โรงเรียนรางน้ำ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2494 ต่อมา ปีการศึกษา 2495 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในสมัยนั้น ได้ตั้งชื่อโรงเรียนอย่างเป็นทางการว่าโรงเรียนศรีอยุธยา มีนายพงษ์ แสงทอง เป็นครูใหญ่คนแรก และในปีเดียวกันนั้นเองได้มีนักเรียนหญิงจำนวนหนึ่งเข้าไปเรียน แต่ไม่ได้รวมเป็นโรงเรียนเดียวกัน ฝ่ายโรงเรียนหญิงได้มอบหมายให้ น.ส.เศวต จึงเจริญ เป็นครูใหญ่ ครั้นต่อมาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 กรมวิสามัญศึกษาได้ส่งนักเรียนชายซึ่งไม่มีที่เรียนและคุรุสภารับไว้ ตั้งแต่ชั้น ม.1-ม.6 เข้าไปเรียนเพิ่มเติมจนสถานที่คับแคบ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดหาซื้อที่ดินของเอกชนมรดกของพระยาเพชรปรานี จำนวน 3 แปลง รวมเนื้อที่ 22 ไร่ 1 งาน 44 ตารางวา เพื่อแยกโรงเรียนและเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2497 และได้ย้ายนักเรียนชายจากโรงเรียนศรีอยุธยามาเข้าเรียนเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2498 ให้ชื่อโรงเรียนอย่างเป็นทางการว่า " โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย " ต่อมาในปีการศึกษา 2510 กระทรวงศึกษาธิการได้คัดเลือกโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย เป็นโรงเรียนแรกและโรงเรียนเดียว ซึ่งใช้หลักสูตรโครงการมัธยมศึกษาแบบประสม (คมส.) และได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนสหศึกษานับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ในปีการศึกษา 2548 โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรการเรียนการสอน " โครงการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เป็นภาษาอังกฤษ" หรือ English Program เป็นปีการศึกษาแรก เกียรติประวัติ พ.ศ. 2515 นักเรียนชั้นม.ศ.5 หลักสูตรโครงการมัธยมศึกษาแบบประสม (คมส.)รุ่นแรก แผนกวิทยาศาสตร์ สอบได้เป็นที่ 1 ของประเทศไทย พ.ศ. 2522 โรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2527 นักเรียน ม.6 หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 รุ่นแรก สายศิลปะ สอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาได้เป็นที่ 1 ของประเทศไทย พ.ศ. 2535 นายกิตติศักดิ์ หยกทองวัฒนา ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ พ.ศ. 2537 น.ส.ปรียานุช แสงไตรรัตนนุกูล ได้รีบเหรียญเงิน ในการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ และนายปกรณ์ แสงสุเรนทร์ ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ พ.ศ. 2538 น.ส.สิรินญา มัจฉาชีพ ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ และนายพลพิบูล สตางค์พุฒ ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ พ.ศ. 2539 นายแทนไท ประเสริฐกุล ได้รับเหรียญทองแดง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ พ.ศ. 2540 โรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน จากพระบาทสมเด็จพระเข้าอยู่หัว และนายวินัย วงศ์สุรวัฒน์ ได้รับทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2541 น.ส.วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ ได้รับทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาศิลปศาสตร์ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2542 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯทรงเปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา และโรงเรียนได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ISO 14001 จาก UKAS สหราชอาณาจักร พ.ศ. 2543 หม่อมเจ้าหญิงสิริวัณณวรี มหิดล (พระยศในขณะนั้น)เสด็จเป็นองค์ประธานในงานเดินวิ่ง "สามเสนฯเพื่อการศึกษา" ที่ กระทรวงสาธารณสุข และนายพงศกร ฐิตโชติ ได้รับเหรียญเงิน ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ พ.ศ. 2544 น.ส.เอมอร ทองเป็นใหญ่ ได้รับทุนทำโครงการวิจัย ระดับปริญญาตรี-โท-เอก จากสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ พ.ศ. 2545 นายกิตติคุณ วังกานนท์ ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ และนายอภิชาติ อภัยวงศ์ ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ พ.ศ. 2546 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในนขณะนั้น ได้เดินทางมาเป็นประธานเปิดงานการประชุมทางไกล โครงการอบรมครูหนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน และจัดบรรยายเรื่อง "สอนอย่างไรให้ถึงฝัน" ณ หอประชุมอาคารอเนกประสงค์ และได้ถ่ายทอดสดการสอนคณิตศาสตร์ที่อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา และในปีเดียวกันนี้ นายอัมพล ลิขิตชัชวาลกุล ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2549 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนพรรณวดี เสด็จทรงเปิดโครงการทูบีนัมเบอร์วันของโรงเรียน สิ่งปลูกสร้าง อาคาร 1 (ตึกหนึ่ง)สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2497 เป็นอาคารแรกและอาคารเดียวที่สร้างพร้อมกับการก่อตั้งโรงเรียน ปัจจุบันได้รับการบำรุงรักษาเป็นอย่างดี อาคารนี้ประกอบด้วย ห้องเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การเงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม)ห้องรับรอง ห้องประชุม ที่ทำการของสมาคมนักเรียนเก่าสามเสนวิทยาลัย ห้องพยาบาล สำนักงานงานฝ่ายบริหารการเงินและสินทรัพย์ และสำนักงานฝ่ายกิจการนักเรียน อาคาร 2 (ตึกวิทยาศาสตร์)เดิมเป็นอาคารไม้ทั้งหลัง ต่อมาได้งบประมาณรื้อทิ้ง และสร้างใหม่เป็นอาคาร 4 ชั้น สร้างเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2512 ปัจจุบันอาคารนี้เป็นอาคารวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมปลายสายวิทยาศาสตร์ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และสำนักงานของฝ่ายบริหารวิชาการ อาคาร 3 (ตึกสาม) เดิมเป็นเรือนไม้แถวยาว สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2497 ต่อมาได้ถูกรื้อและสร้างใหม่ด้วยเงินสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เป็นอาคารสูง 5 ชั้น สร้างเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2517 ปัจจุบันประกอบด้วยห้องเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ห้องแนะแนว ห้องโสตทัศนศึกษาสำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นล่างมีสหกรณ์โรงเรียน ห้องสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย และห้องของคณะกรรมการนักเรียน และเมื่อปีพ.ศ. 2544 ในสมัยที่นายอำนาจ ศรีชัย เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน ได้สร้างส่วนต่อเติมเป็นสำนักงานผู้อำนวยการ ห้องเรียนรวม ห้องรับรอง และห้องประชุม ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนที่เพิ่มมากขึ้น อาคาร 4 (ตึกศิลปะ) เดิมเป็นอาคารศิลปศึกษา สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2506 ต่อมาได้ถูกรื้อและสร้างใหม่เป็นอาคารสูง 5 ชั้นเมื่อปีพ.ศ. 2532 ปัจจุบันเป็นห้อสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมปลายสายศิลปะ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ห้องเรียนศิลปะ ห้องเรียนนาฎศิลป์ ห้องเรียนดนตรีสากล และห้องเรียนดนตรีไทย อาคาร 5(ตึกคหกรรม) เป็นอาคาร 2 ชั้น ปัจจุบันเป็นอาคารเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรมศาสตร์) อาคาร 6 (โรงยิมส์) เป็นโรงพลศึกษา ไว้สำหรับเรียนวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และในปีพ.ศ. 2545 ได้ก่อสร้างสนามเทนนิสขนาดมาตรฐานขึ้นแทนสนามเดิม เพื่อรองรับการเรียนการสอนในวิชาพลศึกษา อาคาร 7 (ตึกอุต) เป็นอาคาร 2 ชั้น สำหรับการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (อุตสาหกรรมศึกษา และ ธุรกิจศึกษา) ชั้นแรก เป็นห้องเรียนวิชา งานช่าง งานเหล็ก ส่วนชั้นที่ 2 เป็นห้องงานปั้น งานเขียนแบบ และห้องปฏิบัติการของวิชาธุรกิจศึกษา อาคาร 8 (ตึก ศน.) สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2507 เดิมเป็นอาคารของหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาโรงเรียนได้รับคืนจากกระทรวงศึกษาธิการเมื่อปีพ.ศ. 2545 และโรงเรียนปรับปรุงภายนอกและภายในอาคารใหม่ทั้งหมด ปัจจุบันเป็นห้องเรียนของโครงการ English Program ห้องเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)รวมทั้งสำนักงานฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานโครงการ English Program ห้องลีลาศ และห้องออกกำลังกาย อาคาร 9 (ตึกเก้า) เป็นส่วนต่อเติมของอาคาร 4 เพื่อรองรับจำนวนนักเรียนสายศิลปะที่เพิ่มมากขึ้น เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ชั้นที่ 1 และ 2 เป็นส่วนขยายของห้องสมุด ส่วนชั้นที่ 3 และ 4 เป็นห้องเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายศิลปะ รวมทั้งห้องปฏิบัติการทางภาษา อาคารอเนกประสงค์ (อเนก) สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2520 ด้วยเงินงบประมาณ เพื่อเป็นห้องประชุมขนาดใหญ่(ชั้นบน) และโรงอาหาร(ชั้นล่าง) ศาลาสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2525 สำหรับเป็นห้องประชาสัมพันธ์ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา (ตึกเฉลิม)สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2539 เป็นส่วนต่อเติมของอาคาร 2 เป็นศูนย์วิทยบริหาร ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ และห้องเรียนคณิตศาสตร์ อันทันสมัย ศิษย์เก่าผู้มีชื่อเสียง ดร.วีรพงษ์ รามางกูร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม นายสุชาติ ตันเจริญ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ฯพณฯเฉลิมพล ทันจิตต์ เอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศสิงคโปร์ ฯพณฯดุสิต จันตะเสน เอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศคูเวต นายวีรศักดิ์ โควสุรัตน์ อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงวัฒนธรรม และ รองหัวหน้าพรรคชาติไทย ศ.ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ ศาสตราจารย์ระดับ11 คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, นักวิทยาศาสตร์รางวัลยูเนสโก ประจำปี 2546 ศ.นพ.สมเกียรติ วงษ์ทิม ศาสตราจารย์ระดับ10 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.จุมพล รอดคำดี อดีตรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ กรรมการผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.นอ.ดร.วรพจน์ ขำพิศ คณบดีสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พล.อ.พนม จีนะวิจารณะ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุโขทัย นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ อธิบดีกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม ดร.อรรถ สมร่าง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดร.ไมตรี ดวงสวัสดิ์ อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พล.อ.สมหมาย วิชาวรณ์ พล.ร.อ.วรงค์ ส่งเจริญ ร.น. พล.ต.ท.ชลอ ชูวงษ์ ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พล.ต.ท.ดำรงศักดิ์ นิลคูหา อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล พล.ท.จิรสิทธิ เกษะโกมล อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ นายสมชัย สวัสดิผล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด(มหาชน)หรือ ทอท. ดร.อภิชาติ การิกาญจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครศรีธรรมราช นายเชน เทือกสุบรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายสามารถ แก้วมีชัย| สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงราย ดร.ถิรชัย วุฒิธรรม กรรมการบริหารการกีฬาแห่งประเทศไทย และ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายมนตรี เจนอักษร นักแสดง ร.ต.ท.นรบดี ศศิประภา (ก้อง) นักแสดง นายฐาวรา สิริพิพัฒน์ พิธีกรและเจ้าของนวนิยาย "The White Road" (นามปากกา"ดร.ป๊อป") นายกรุณพล เทียนสุวรรณ (เพชร) นักแสดง น.ส.ฐิติมา ประทุมทิพย์ (แอนคูณสาม) นักร้อง น.ส.ศิริลักษณ์ ผ่องโชค (จอย) นักร้อง นักแสดง พิธีกร นายตะวัน จารุจินดา (เติ้ล) นักร้อง นักแสดง พิธีกร นายสิทธิ์ ตันติพิสิฐกุล หรือ พาทิศ ตันติพิสิฐกุล(ไผ่) ดัชชี่บอย และ นักแสดง นายวรรณสิงห์ ประเสริฐกุล (สิงห์) พิธีกร นายธนกฤต พาณิชย์วิทย์ (ว่าน) นักร้อง นายวิญญู วงศ์สุรวัฒน์ (จอห์น) พิธีกร และ นักจัดรายการวิทยุ นายปฏิญญา วิโรจน์แสงประทีป (แอม) ดัชชี่บอย และ นักแสดง นายพิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร (ท็อป) พิธีกร และนักแสดง นายเล็ก วงศ์สว่าง อดีตนักจัดรายการวิทยุ [/SIZE][/COLOR][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
Find Friend
>
:?: Samsen Group ??????????????ʹ??Ѻ?Է????? www.racingweb.net/samsengroup/ :?:
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...